





วิธีการนี้ เราอาจจะเคยได้ยินหลักการที่เรียกว่า "การราดสาร"
การราดสารก็คือ หลักการปรับปริมาณสัดส่วนระหว่าง คาร์บอน (C) กับ ไนโตรเจน (N) หรือ C:N Ratio
การราดสารก็คือ หลักการปรับปริมาณสัดส่วนระหว่าง คาร์บอน (C) กับ ไนโตรเจน (N) หรือ C:N Ratio
ถ้า N สูงกว่า ก็เกิดภาวะ ใบกลืนดอก : แตกยอดออกใบใหม่ และสลัดดอกทิ้ง
ถ้า C สูงกว่า ก็เกิดภาวะ เบ่งดอกออกผล
ถ้า C สูงกว่า ก็เกิดภาวะ เบ่งดอกออกผล
การเพิ่มปริมาณ C และ การลดปริมาณ N จึงเป็นเรื่องสำคัญต่อการออกดอกผลของต้นไม้อย่างยิ่ง
โดยปกติต้นไม้จะชอบกิน N มากๆ ถ้าปีไหนฝนตกมาก ต้นไม้มักจะไม่ค่อยออกดอกผล เพราะในอากาศมี N ประมาณ 72% เมื่อฝนตกลงมาฝนจะดึง N ลงดิน ต้นไม้จะรีบดูดกินทันที ทำให้ N สูงกว่า C
ถ้าเราจะเพิ่ม C เราจะเพิ่มได้ด้วยการให้คาร์บอนไดออกไซด์ (ต้องรอธรรมชาติ) อินทรีย์วัตถุ ปุ๋ย เพราะธาตุอาหารในปุ๋ยจะมี 14 ธาตุอาหาร เป็นธาตุอาหารฝั่ง N 1 ธาตุ และเป็นธาตุอาหารฝั่ง C 13 ธาตุ
ถ้าเราจะเพิ่ม C เราจะเพิ่มได้ด้วยการให้คาร์บอนไดออกไซด์ (ต้องรอธรรมชาติ) อินทรีย์วัตถุ ปุ๋ย เพราะธาตุอาหารในปุ๋ยจะมี 14 ธาตุอาหาร เป็นธาตุอาหารฝั่ง N 1 ธาตุ และเป็นธาตุอาหารฝั่ง C 13 ธาตุ




ปุ๋ยน้ำชีวภาพให้ทางใบ เป็นปุ๋ยที่พัฒนาสูตรโดยศึกษาจากธรรมชาติของต้นไม้ เพราะต้นไม้สามารถกินอาหารทางใบได้ด้วย และเป็นการย่นย่อระยะทาง การฉีดพ่นปุ๋ยน้ำทางใบจะทำให้ต้นไม้สามารถนำไปใช้ได้ทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาดูดซึมอาหารจากรากขึ้นสู่ใบ ทำให้ต้นไม้สดชื่นไว เห็นผลเร็ว ทนแล้งทนหนาวได้ และแข็งแรงเติบโตดี เพิ่มคาร์บอนให้ต้นไม้แบบรวดเร็ว



